วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ตัวอย่างงานวิจัยภาษาอังกฤษ

Assessing Knowledge Management Initiative Successes
Function of Organizational Culture

Vincent Michel Ribière

Graduation Date
Spring: May 20, 2001
बीDissertation directed


เหตุผลที่เลือก


1.ได้ทราบถึงวัฒนธรรมองค์กรสามารถนำไปปรับใช้กับองค์กรอื่น ๆ ได้ให้เหมาะสมกับบริบทในด้านต่าง ๆ


Objective of the research

" Knowledge management is the systematic, explicit, and deliberate building,
renewal and application of knowledge to maximize an enterprise's knowledge
related effectiveness and returns from its knowledge assets" (Wiig 1997)
· "Knowledge management is the process of capturing a company's collective
expertise wherever it resides ¾ in databases, on paper, or in people's heads ¾ and
distributing it to wherever it can help produce the biggest payoff" (Hibbard 1997)
· "KM is getting the right knowledge to the right people at the right time so they can
make the best decision" (Pettrash 1996).
Knowledge is gained not only from employees’ skills but also from all the organization’s
environmental elements and the understanding of their relationship, what Arc Partners
(Siemers and Arc Partners 2000) describes as the “knowledge landscape” (Figure I-3).

Objective of the research









Theory and conceptual framework













Research Methodology and statistic

The formal directional hypothesis is defined as:
H1: There is a relationship between successful knowledge management initiatives
and the organizational culture of a company.
As described in our literature review, organizational culture can be assessed through
different lenses. Two organizational culture variables seem to be constantly listed as a main
precondition for knowledge sharing: organizational trust and solidarity. Both of these
concepts were described in our literature review section. So for this research organizational
culture will be measured through the organizational trust and organizational solidarity
variables.
The survey tool we plan to use in order to assess the organizational level of solidarity of
organizations and organization units is the one developed and validated by Goffee and Jones
(Goffee and Jones 1998). The original tool that they developed assessed solidarity and
sociability as variables. We agree on the fact that sociability is an important factor for
knowledge sharing but in our vision it is a subcomponent of trust because:
Affection can be present without trust (e.g., parent-child)
Trust can be present without affection (e.g., passenger-pilot)


Research Result


This survey asks for your opinion about culture within your organization and within your
organization unit as well as the type of knowledge management initiatives initiated.
Because it asks for your judgment, there are no right or wrong answers.
Sometimes people are tempted to answer survey questions in the way they think is
expected. Please respond based on your own judgment, regardless of what you think
others expect or what is socially acceptable. Your responses will be held in strict confidence:
we guarantee complete anonymity.


Answer and Question

1. ท่านได้ประโยชน์อะไรจากงานวิจัยเรื่องนี้
2. งานวิจัยเรื่องนี้สามารถประยุกต์ใช้กับธุรกิจอื่นได้อย่างไร

วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ตัวอย่างงานวิจัยภาษาไทย

การศึกษาความพร้อมในการนำระบบการจัดการความรู้มาใช้ในมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

Name: ชริยา จันทร์อินทร์
Issued: 2550-06-16

เหตุผลที่เลือก

สามารถใช้เป็นอ้างอิงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ทำในปัจจุบันได้
เป็นเรื่องที่ใหม่ น่าสนใจ เหมาะกับการศึกษาค้นคว้า
สามารถนำมาประยุกษ์ใช้ในการทำงาน และชีวิตประจำวัน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อศึกษาความพร้อมในการนำระบบการจัดการความรู้มาใช้ในมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมในการนำระบบการจัดการความรู้มาใช้ในมหาวิทยาลัย
เอเชียอาคเนย์ จำแนกตามสถานภาพของบุคลากร

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรต้น

1. ผู้บริหาร
2. อาจารย์
3। เจ้าหน้าที่

ความพร้อม 3 ด้าน

1. ทัศนคติ ได้แก่ การมีทัศนคติที่ดี
มีความรู้สึกเชิงบวกต่อระบบการจัดการความรู้
และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการพัฒนา
ระบบการจัดการความรู้
2. เทคนิค ได้แก่ ความรู้และทักษะ ด้าน
การจัดการความรู้ การเรียนรู้ และการทำงาน
ร่วมกัน
3. การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร และสารสนเทศ
ได้แก่ การมีความรู้ และทักษะเกี่ยวกับแหล่ง
สารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์เทคโนโล
ยีการสื่อสารและสารสนเทศ

ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติ
ประชากรที่ใช้
ในการวิจัย 322 คน

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ใช้

การเก็บรวบรวม
ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิจัย

ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรของมหาวิทยาลัย เอเชียอาคเนย์มีความพร้อมทั้ง 3 ด้าน
คือ ด้านทัศนติ ด้านเทคนิค ด้านการใช้เทคโนโลยี อยู่ในระดับดีมาก การเปรียบเทียบความพร้อมทั้ง 3 ด้านพบว่า บุคลากรของมหาวิทยาลัย เอเชียอาคเนย์สถานภาพต่างกัน

คำถาม และ คำตอบ

1. ทำไมต้องศึกษาความพร้อมก่อนจะนำระบบการจัดการความ
รู้มาใช้ในมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

2. ต้องคำนึงถึงด้านใดบ้างในการเตรียมความพร้อมการจัดการความรู้

ข้อทดสอบ

1. ให้นักศึกษาหาข้อมูลเพื่อพยากรณ์ของเงินบาทต่อเงิน US dollar ณ วันที่ 12 ตุลาคม 50 ว่าค่าเงินบาทแข็งตัว หรือ อ่อนตัว เมื่อเทียบกับอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างเงินบาทกับเงิน US dollar ณ วันที่ 22 กันยายน 50 โดยเลือกตอบได้เพียง 1 ข้อ และ จงบอกเหตุผลในการตอบ
ก . ค่าเงินคงที่ หมายถึง ค่าของเงินเพิ่มขึ้น หรือลดลงไม่เกิน 1 % ของอัตราการ แลกเปลี่ยน Bath : US dollar
ข. ค่าเงินบาทต่อเงิน US dollar แข็งค่ามากกว่า 1 %
ค. ค่าเงินบาทต่อเงิน US dollar อ่อนค่ามากกว่า 1 %
ง. ไม่ตอบ
ตอบ : ก . ค่าเงินคงที่ หมายถึง ค่าของเงินเพิ่มขึ้น หรือลดลงไม่เกิน 1 % ของอัตราการ แลกเปลี่ยน Bath : US dollar
เพราะเศรษฐกิจ และการค้าไม่ได้ตกต่ำมากนักยังพอพยุงตัวไปเรื่อย ๆ ไม่ได้ดีมาก แต่ก็ไม่ถึงขั้นขาดดุลการค้า

49935880006 นายอุดมทรัพย์ สนั่นลำ
4135105 เครื่องมือการจัดการสำหรับการจัดการความรู้
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

สรุปศึกษาดูงาน บริษัท NOK

บริษัท NOK Precision Component (Thailand) Ltd.
ผู้เขียนได้สรุปจากการไปดูงานที่ NOK เริ่มตั้งแต่ปัจจัยจนถึงความรู้และการใช้เครื่องมือต่าง ๆปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ของพนักงานในองค์กร1. วิสัยทัศน์ NOK มีวิสัยทัศน์ปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรด้านวินัยและทัศนคติที่ดีในการทำงาน โดยเริ่มการปลูกฝังวัฒนธรรมการทำงานมีความชัดเจนและเข็มแข็ง2. ภาวะผู้นำ ผู้บริหารเป็นบุคคลสำคัญที่เป็นแบบอย่างให้แก่พนักงานทุกๆคนเอาจริงเอาจัง ตอบสนองนโยบายของบริษัท3. กระบวนการถ่ายทอดความรู้ มีระบบการถ่ายทอดความรู้ที่ใครเห็นอะไร รู้อะไร ใครเจออะไรดีๆ แล้วนำมาถ่ายทอด หรือเป็นการสอนแบบสั้นๆ โดย “ผู้รู้” เขียนลงกระดาษแผ่นเดียว อาจเป็นหัวหน้าสอนพนักงาน เพื่อสอนเพื่อก็ได้ วิธีการคือ จะมีใบงานที่มีแบบฟอร์มง่ายๆ เพื่อให้กรอกข้อมูลที่จะต้องสอนงาน โดยให้สอนแบบหนึ่งคนต่อหนึ่งคน ซึ่งเป็นการถ่ายทอดความรู้และพัฒนาความรู้ของตนอยู่เสมอ4. นโยบายที่เปิดกว้าง บริษัทมีนโยบายให้องค์กรภายนอกเข้ามาศึกษาดูงาน คือเป็นแรงกระตุ้นให้พนักงานในองค์กรเกิดความตื่นตัวที่จะพัฒนาองค์กรกลยุทธ์เพื่อก้าวสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Smart Systemเทคโนโลยีสารสนเทศ· สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า· บริหารงานด้วยความโปร่งใส· สร้างความสมดุลระหว่างคนกับระบบITทำงานเป็นทีมSmart Group Activityกิจกรรมกลุ่มย่อมปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง· ใช้หลัก Win-Win ในทุกหน่วยงาน :การจัดการความรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเองKnowledge AssetSmart System คือ แหล่งเรียนรู้ขององค์กรในรูปแบบจะมีอยู่ 2 แหล่งใหญ่ๆ คือ ระบบ Internet และต่อมาพัฒนาต่อยอดเป็นระบบ Portal ขึ้นใช้เองในองค์กร เป็นที่รวบรวมข้อมูลของทุกฝ่าย ทุกกิจกรรม ตลอดจน การลากิจ ลาป่วย เวลาทำงาน การเบิกของ รายงาน รายงานการประชุม และกิจกรรมขององค์ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก จะถูกจัดระบบไว้ในนี้ทุกๆ สายงานจะบรรจุข้อมูลงานของทุกคนลงใน Portal รวมทั้งรายงานในหน้าเดียว (One-page Report) โดยผลการดำเนินงานของทุกฝ่ายจะถูกใส่ในฐานข้อมูลและระบบจะดึงข้อมูลมา เพื่อสร้างรายงานวันละ 2 ครั้งทำให้ผู้บริหารเกิดการสะดวกในการติดตามผลการดำเนินธุรกิจในทุกๆ มุมขององค์กรได้ครบถ้วนใน เวลาอันสั้น แนะนอกจากนี้ยังช่วยลดปริมาณกระดาษและแฟ้มเอกสารได้อย่างมาก โดยสามารถเปิดดูข้อมูลที่ถูกปรับปรุง ที่เป็นปัจจุบันที่สุดได้ในระบบ Portal นอกจากนี้องค์กรยังพยายามที่จะกระตุ้นให้พนักงานทุกคนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรหนึ่งในกิจกรรมนั้นคือ Kaizen Suggestion ที่เป็นการเปิดโอกาสให้พนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับปฏิบัติการเป็นต้นไป ได้นำเสนอข้อแนะนำว่าอยากจะปรับปรุงอย่างไร ให้กับองค์กรและผลที่คาดว่าจะได้รับคืออะไรเมื่อพนักงานเขียนเสร็จแล้วจะรวบรวมเอกสารลงในระบบให้ผู้บริหารรับรู้และติดตามผลการดำเนินการตามคำแนะนำ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองจะนำไปสู่การปฏิบัติจริงและการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง